วันพุธ ที่ 20 พฤศิจกายน พ.ศ.2562
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษานำเสนอสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ ทัังเดี่ยวและกลุ่ม
กลุ่มของดิฉัน โรงละคร เงา
💅กลุ่มที่ 1 เครื่องกล 💨 บ่อตกปลา
💅กลุ่มที่ 2 แสง 💨โรงละครหุ่นเงา
💅 กลุ่มที่ 3 น้ำ 💨 กังหันน้ำ
💅กลุ่มที่ 4 อากาศ 💨 ปืนอัดอากาศ
💅กลุ่มที่ 6 เสียง กีตาร์
การนำเสนอของเล่น งานเดี่ยว เป็นกลุ่ม
กลุ่มที่ 1 เครื่องกล
💅คาดดีด
หลักการของการเคลื่อนย้ายวัตถุที่มีการจัดเรียงและจุดหมุนที่จุดใดจุดหนึ่งบนคานการออกแรงจุดที่อยู่ห่างจากจุดหมุน จะมีมุมระหว่างแรงกระทำกับระยะห่างจากมุมหมุน ทำให้คาดดีดได้
💅รถไขลาน
จะมีพลังงานสะสมอยู่ เรียกว่า (พลังงานศักย์ยืดหยุ่น) เมื่อทำการปลดปล่อยสปริงจ ากพลังงานศักย์ยืดหยุนจะเป็นพลังงานจล ทำให้รถเคลื่อนที่
💅เรือใบพัด
หลักการของเรือใบพัดการใช้พลังงานศักย์ที่เป็นพลังงานที่สะสมและการยืดหยุ่นของยางจะทำให้ใบพัดหมุนและเกิดแรงขับเคลื่อนทำให้เรือเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
💅กลิ้งแล้วลงรู
จะเป็นการเคลื่อนที่ตามแรงดึงดูดของโลก บริเวณที่ลาดชันมากเกิดการเปลี่ยนแปลง และมีแรงมาดึงดูดวัตถุนั้นจะเคลื่อนที่ช้าหรือเร็วขึ้นอยู่ความลาดชันทำให้กลิ้งแล้วลงรู
💅จรวด
การที่เครื่องบินหรือจรวดอยู่ในอากาศนั้น หลักการที่เกี่ยวข้อง คือ จุดศูนย์ถ่วง
กลุ่มที่ 2 แสง
💅กล้องแสงแสง คือ แสงในธรรมชาติของเรามีสีขาว คือแสงสีขาว ภายในแสงสีขาวจะมีสีต่างๆ เมื่อมีวัตถุตกกระทบจะทำให้เราเห็นสีต่างๆ
💅กล้องรูเข็ม
หลักการ คือ แสงที่ตกกระทบกับวัตถุ เดินทางผ่านตัวกลางคือกระดาษไขและผ่านรูเล็ก แวงจะตกกระทบ แล้วแสดงภาพเป็นหัวกลับ
💅กล้องสลับลาย
💅กล้องละลานตา
แสงจะผ่านวัตถุที่อยู่ข้างใน ปละสะท้อนกระจกเงาด้านในกลับมาทำให้เห็นลวดลายต่างที่สวยงาม
กลุ่มที่ 3 น้ำ กังหันน้ำ
💅ขวดน้ำทอนาโด
การหมุนของน้ำและฟองอากาศในการใช้แรงหมุนของมือ ทำให้มีแรงมากระทำต่อขวดน้ำที่มีน้ำท เกิดการเคลื่อนในแนววงกลม มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง ทำให้กลายกับพายุหมุน
💅เรือดำนำ
การบีบขวดน้ำทำให้ปริมาตรที่มีน้ำอยู่ในขวดลดลง และมีแรงดันมากขึ้น ทำให้มีน้ำหนักจึงจม เมื่อแรงดันน้ำลดลง น้ำจะออกจากปากกาเบาจึงลอยขึ้น
💅ทะเลในขวด
เมื่อสารที่ต่างกัน จะทำให้เกิดการแยกตัว เมื่อโยกไปมาทำให้เกิดคลื่นในทะเล น้ำมันจะลอยตัวขึ้นเหนือน้ำเนื่องจากน้ำหนักหรือมวลน้อยกว่าน้ำ
💅ตู้กดน้ำจำลอง
เมื่อเปิดผาขวดน้ำทำให้น้ำไหล เนื่อจากเราเปิดฝาขวดทำให้อากาศเข้าไป มีแรงดัน ทำให้น้ำไหลออกมา เมื่อปิดผา น้ำจะหยุดทันที
กลุ่มที่ 4 อากาศ
💅โฮเวอร์คราฟท์ ลูกโป่ง
เมื่อเป่าลูกโป่งให้โตเต็มที่แล้วปล่อยลมออก ทางเดือยที่สวมติดกับลูกโป่ง ลมจะพุ่งออกมา ทางใต้ฐานของโฮเวอร์คราฟท์ ทําให้โฮเวอร์คราฟท์ ยกตัวขึ้น เพราะอากาศจากลูกโป่งแผ่กระจายออก ระหว่างพื้นกับผิวใต้ฐาน มีผลทําให้แรงเสียดทาน ระหว่างผิวสัมผัสของฐานกับพื้นลดลง แรงผลักในแนวนอนจึงดันให้โฮเวอร์คราฟท์เคลื่อนที่ไปจนลูกโป่งแฟบ เพราะอากาศภายในหมด
💅ตุ๊กตาลมคืนชีพ เป็นทดสอบแรงดันอากาศเมื่อดูดอากาศเข้าไป อากาศที่อยู่ภายใน จะมีแรงกะทำทำให้ถุงยุบเข้าไปในแก้ว ในขณะที่เป่า อากาศเราเข้าไป ทำให้แรงดันภายในแก้ว ทำให้ถุงพองตัว
💅 รถพลังลม
หลักการ คือการเคลื่อนที่ แรงปฎิกิริยาที่มีขาดที่เท่ากับแรงกิริยา แรงดันลมที่ออกจากลูกโป่งจะมีแรงเท่ากับรถด้วย
💅เครื่องดูดอากาศจอมกวน
แรงดันอากาศที่เราเป่าลูกให้พองตัวขึ้น เป็นเพราะในขวดมีปริมาตรลดลง อากาศภายนอกมากระทำ จึงไหลเข้าไปทำให้หลอดที่เป่าลูกโป่งพองขึ้น
กลุ่มที่ 5 หิน ดิน ทราย เครื่องกรองน้ำ
วัตถุต่างๆมีการเคลื่อนที่ตามแรงดึงดูดของโลก ที่ลาดชันเกิดการเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดการเคลื่อนที่ลงสู่ต่ำไปสูง
💅นาฬิกาทราย
วัตถุต่างๆมีการเคลื่อนที่ตามแรงดึงดูดของโลก เมื่อเราต้องการใส่วัตถุที่ปริมาณแล้วกำหนดเวลาก็จะทำให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลง
💅เครื่องเขย่าจากหิน
💅เครื่องเคาะจังหวะจากทราย
เสียง เกิดจากการสั่นสะเทือน ของวัตถุ เมื่อวัตถุสั่น ก็จะทำให้เกิดการอัดตัว ทำให้เกิดเสียง
กลุ่มที่ 5 หิน ดิน ทราย เครื่องกรองน้ำ
💅แตรช้าง
เมื่อเป่าอากาศเข้าไป ทำให้ลมวิ่งเข้าไปทำให้ลูกโป่งสั่น ลมที่ไปเข้าไปอีกรอบ เกิดวังวน ของอากาศที่อยู่ เกิดการสั่นสะเทือน เกิดเสียงกังวาล
💅ผลไม้หลากสี
💅 เครื่องเคาะจังหวะ
💅 เครื่องดนตรี
เป็นเสียงที่ได้รับการสั่นสะเทือน เมื่อวัตถุสั่น ก็จะทำให้เกิดการขยาตัวของคลื่นเสียง ทำใหเกิดเสียง
กระดาษเปลี่ยนสี
💨หลักการ ในชีวิตประะจำวัน เรามองเห็นแสงในธรรมชาติ คือแสงสีขาว ภายในแสงสีขาวจะมีสีต่างๆ เมื่อเรานำกระดาษสีเหลืองมา มันจะดูดแสงสีเหลืองทำให้เรามองเห็นภาพเป็นสีเหลือง
💥💥💥💥💥💥💥
คำศัพท์
1.light แสง
2.Sand ทราย
3.Rhythm จังหวะ
4.climate อากาศ
5. Stone หิน
💓 แบบประเมิน 💓
ได้ช่วยเพื่อนคิด วางแผนการทำงาน คอยแนะนำระหว่างการทำกิจกรรม
แบบประเมินเพื่อน
เพื่อนๆ ทุกคน ช่วยเหลือเพื่อนในกลุ่มได้ดี ช่วยกันคิด วางแผน
แบบประเมินอาจารย์
อาจารย์ให้คำแนะนำ และเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น